ดวงตาแห่งแอฟริกา Eye of Africa
หากมองจากทางอากาศพื้นที่แห่งนี้จะมีลักษะคล้ายกับดวงตาที่ปรากฏขึ้นบนทะเลทรายซาฮารา สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย
(Islamic Republic
of Mauritania)
จึงเป็นที่มาของฉายาอีกอย่างคือ ดวงตาแห่งทะเลทรายซาฮารา มีรูปทรงคล้ายโดม กว้างประมาณ 40 กิโลเมตร สามารถมองเห็นได้ไกลจากอวกาศถึง 50 กิโลเมตร โดยไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปดวงตาได้จากพื้นดินเพราะเป็นการยกตัวขึ้นของหินตะกอนที่มีอายุมากกว่าพันปีมาแล้ว เป็นอีกสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมของคนที่รักการผจญภัย
of Mauritania)
จึงเป็นที่มาของฉายาอีกอย่างคือ ดวงตาแห่งทะเลทรายซาฮารา มีรูปทรงคล้ายโดม กว้างประมาณ 40 กิโลเมตร สามารถมองเห็นได้ไกลจากอวกาศถึง 50 กิโลเมตร โดยไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปดวงตาได้จากพื้นดินเพราะเป็นการยกตัวขึ้นของหินตะกอนที่มีอายุมากกว่าพันปีมาแล้ว เป็นอีกสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมของคนที่รักการผจญภัย
ถึงแม้ว่าแต่ละสถานที่จะดูลึกลับ
น่ากลัว แฝงไปด้วยปริศนาและความน่าพิศวงมากมาย แต่มันก็สร้างสีสันและความสวยงามให้กับโลกใบนี้ไม่ใช่น้อยภาพถ่ายดาวเทียมแลนเซท 7
(Landsat 7,)
ภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนเซท 7(Landsat 7,) |
ดวงตาแห่งทะเลทรายซาฮาร่า Eye of the Sahara หรือดวงตาแห่งอัฟริกา “Eye of Africa.”รูปทรง ริชาท (Richat Structure )หรือที่เรียกกันว่า ดวงตาแห่งทะเลทรายซาฮาร่า Eye of the Sahara หรือดวงตาแห่งอัฟริกา “Eye of Africa.”
อยู่ในเขตทะเลทรายซาฮาร่า ประเทศมอริตาเนีย Mauritania ทวีปอัฟริกาตั้งแต่มนุษย์อวกาศเริ่มออกไปปฎิบัติงานในอวกาศ เมื่อมองลงมายังพื้นโลก รูปทรง ริชาท(Richat Structure )กลายเป็นจุดเด่นที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน ทั้งน่าสนใจและน่าทึ่ง สามารถมองเห็นได้ชัดจากอวกาศระยะไกล 50 ก.มแต่ไม่สามารถมองเห็นได้จากบนพื้นดินเนื่องจากตั้งอยู่บนเนินหินตะกอน ที่มีโครงสร้างรูปโดม
(ภาพนี้จาก google map)
องค์กรกรนาซา NASA ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับ" The Richat Structure ไว้ว่า อยู่ในทะเลทรายซาฮาร่าของประเทศมอริเตเนีย มองเห็นได้ง่ายจากอวกาศจากระยะไกลเกือบ 50 กิโลเมตร เมื่อก่อนเคยคิดกันว่าน่าจะเป็นหลุมอุกกาบาตที่มีลักษณะแบนตรงกลาง แต่เมื่อตรวจสอบแล้วไม่ได้เกิดจากการ กระแทกของหินอุกาบาต และไม่น่าจะเกิดจากการปะทุของภูเขาไฟเพราะ ไม่พบโดมของหินอัคนี (dome of igneous) หรือหินภูเขาไฟ(volcanic rock ) และเหตุผลความเป็นไปได้มากที่สุดคือ หินตะกอนที่ยกตัวขึ้นสูงโดนกัดเซาะ (erosion)โดยธรรมชาติ แต่ตอนหลังได้มีการพิสูจน์แล้วพบว่า รูปทรง ริชาท
องค์กรกรนาซา NASA ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับ" The Richat Structure ไว้ว่า อยู่ในทะเลทรายซาฮาร่าของประเทศมอริเตเนีย มองเห็นได้ง่ายจากอวกาศจากระยะไกลเกือบ 50 กิโลเมตร เมื่อก่อนเคยคิดกันว่าน่าจะเป็นหลุมอุกกาบาตที่มีลักษณะแบนตรงกลาง แต่เมื่อตรวจสอบแล้วไม่ได้เกิดจากการ กระแทกของหินอุกาบาต และไม่น่าจะเกิดจากการปะทุของภูเขาไฟเพราะ ไม่พบโดมของหินอัคนี (dome of igneous) หรือหินภูเขาไฟ(volcanic rock ) และเหตุผลความเป็นไปได้มากที่สุดคือ หินตะกอนที่ยกตัวขึ้นสูงโดนกัดเซาะ (erosion)โดยธรรมชาติ แต่ตอนหลังได้มีการพิสูจน์แล้วพบว่า รูปทรง ริชาท
(Richat Structure) ที่เป็นวงกลมนี้เกิดขึ้นจากการที่หินตะกอน
(Thesedimentary rocks)
(Thesedimentary rocks)
มีการยกตัวขึ้นแล้วตอนหลังถูกธรรมชาติลมฝนฟ้าอากาศ อุณหภูมิ
กัดเซาะลึกลงไปกลายเป็น รูปวงเวียนเป็นชั้นๆ
Eye of Africa