อันตรายจากคราบน้ำรั่วไหลลงสู่ทะเลหรือ (Oil spill)
การเกิดน้ำมันรั่วไหลลงสู่ทะเลหรือ Oil spill นั้นเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุเช่นการเกิด อุบัติเหตุท่อส่งน้ำมันกลางทะเลรั่วอุบัติเหตุเรืออับปางหรือชน กันการขนถ่ายน้ำมันการถ่ายน้ำมันเครื่องการระบาย น้ำออกจากตัวเรือเป็นต้น
การรั่วไหลของน้ำมันลงสู่ทะเลในปริมาณมากหรือมี คราบน้ำมันติดค้างอยู่เป็นเวลานานโดยปราศจากการป้องกันและการบริหารจัดการจะส่งผล กระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศทางทะเลผลกระทบ ที่จะตามมาในอนาคตคือปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งใน ระดับชุมชนถึงระดับประเทศ
การปนเปื้อนน้ำมันก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในทะเลเนื่องจากน้ำมันบนผิวน้ำไปขัดขวางการถ่ายเทก๊าซออกซิเจนระหว่าง อากาศและน้ำทำให้เกิดน้ำเน่าเสียสัตว์น้ำ ขาดออกซิเจนและรากต้นไม้ในป่าชายเลนไม่สามารถหายใจได้จึงเป็นการทำลายระบบ นิเวศป่าชายเลน
ผลกระทบต่อสัตว์
สัตว์ที่ ได้รับผลกระทบมีตั้งแต่สัตว์น้ำขนาดเล็กเช่นปลาแพลงตอนสัตว์ เปลือกแข็ง (เช่นกุ้งเคย krill ซึ่งมี บทบาทสำคัญในห่วงโซ่อาหาร) นกทะเลเพนกวินนากทะเลแมวน้ำสิงโต ทะเลแต่ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดและมีอัตราการตายสูงมักเป็นพวกนก น้ำเช่น ปลา หอย กุ้ง แมงกระพรุ่น หรือแม้แต่สาหราย ประการัง ในทะเล.....
1.ทางกายภาพ (Physical impact)
เมื่อขนสัตว์ซึ่งปกติจะกันน้ำ (ทำให้ สัตว์ลอยน้ำได้และรักษาอุณหภูมิของร่างกาย) ถูกน้ำมัน เปื้อนจะจับกันเป็นก้อนทำให้น้ำซึมเข้าถึงผิวหนังมีผลให้ สัตว์ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายได้จึงหนาวตาย (เนื่องจากอุบัติเหตุเหล่านี้มักเกิดในต่างประเทศเขตหนาวเช่นแคนาดาอเมริกา เหนือหรืออาจเกิดoverheatถ้าเกิดในเขตร้อน) และอาจทำ ให้สัตว์จมน้ำตายได้นอกจากนั้นคราบน้ำมันยังอาจอุดตันจมูกปากหรือ ระคายเคืองตาได้และในภาวะดังกล่าวสัตว์ผู้ ล่าก็จะล่าสัตว์เหล่านี้ได้โดยง่าย (แต่หมายถึงได้กินอาหารที่ปน เปื้อนสารพิษ) นอกจากนี้คราบน้ำมันที่เคลือบผิวหนังจะถูกดูด ซึมเข้าสู่ร่างกายไปยับยั้งการสืบพันธ์และการเจริญเติบโตโดยเฉพาะ ไข่นกจะไม่สามารถฟักออกเป็นตัวได้
2.การปน เปื้อนของสาพิษ
(Toxiccontamination)
น้ำมันมีความเป็นพิษต่อทางเดินอาหาร (ทำให้ เกิดแผลหลุมและมีเลือดออกในทางเดินอาหาร),ตับ,ตับอ่อน,ไต (ทำลาย เนื้อเยื่อเหล่านี้อย่างรุนแรง),ปอด (ปอดบวมจากการสำลักพบได้เป็นปกติในกรณีเช่นนี้),ระบบ ประสาทส่วนกลางและมีผลระยะยาวต่อระบบสืบพันธุ์โดยน้ำมัน สามารถเข้าสู่ตัวสัตว์ได้ทั้งทางการหายใจ (ไอระเหย) ซึมผ่าน ทางผิวหนังและทางปาก (จากการปนเปื้อนในอาหารและจาก พฤติกรรมการไซร้ขนเมื่อขนเปื้อนน้ำมันจะทำให้สารที่เป็นพิษจาก น้ำมันจะเข้าสู่ตัวสัตว์ได้)
3.ผลต่อแหล่งอาหาร (Food resource contamination)
สัตว์น้ำที่ปนเปื้อนน้ำมันจะมีสารพิษในตัวเมื่อ สัตว์ผู้ล่ากินเข้าไปก็จะได้รับสารพิษและสัตว์ที่ปนเปื้อนมักมีกลิ่น น้ำมันทำให้ผู้ล่าไม่กินเกิดภาวะขาดอาหาร
นอกจากนี้คราบน้ำมันยังปิดกั้นแสงสว่างที่สองลง มาสู่พื้นท้องน้ำมีผลต่อขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชน้ำน้ำมันที่ ความเข้มข้นสูงอาจทำให้สัตว์น้ำตายได้น้ำมันที่มีความหนาแน่นสูงเมื่อจม ลงสู่พื้นท้องทะเลมีผลต่อสัตว์หน้าดินแนว ปะการังและแหล่งหญ้าทะเลคราบน้ำมันเมื่อเคลื่อนตัวเข้าสู่ ชายฝั่งจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบนิเวศ หาดทราย ผลกระทบที่กล่าวมานี้จะทำให้คุณภาพของแหล่งท่อง เที่ยวลดลงและทำให้เกิดความเสียหายแก่กิจกรรมการใช้ ประโยชน์ต่างๆ เช่นกิจกรรมนันทนาการชายหาดการทำประมงการเพาะเลี้ยงฯลฯ
เรียบเรียงข้อมูลเพิ่มเติมโดย manman
การรั่วไหลของน้ำมันลงสู่ทะเลในปริมาณมากหรือมี คราบน้ำมันติดค้างอยู่เป็นเวลานานโดยปราศจากการป้องกันและการบริหารจัดการจะส่งผล กระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศทางทะเลผลกระทบ ที่จะตามมาในอนาคตคือปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งใน ระดับชุมชนถึงระดับประเทศ
การปนเปื้อนน้ำมันก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในทะเลเนื่องจากน้ำมันบนผิวน้ำไปขัดขวางการถ่ายเทก๊าซออกซิเจนระหว่าง อากาศและน้ำทำให้เกิดน้ำเน่าเสียสัตว์น้ำ ขาดออกซิเจนและรากต้นไม้ในป่าชายเลนไม่สามารถหายใจได้จึงเป็นการทำลายระบบ นิเวศป่าชายเลน
ผลกระทบต่อสัตว์
สัตว์ที่ ได้รับผลกระทบมีตั้งแต่สัตว์น้ำขนาดเล็กเช่นปลาแพลงตอนสัตว์ เปลือกแข็ง (เช่นกุ้งเคย krill ซึ่งมี บทบาทสำคัญในห่วงโซ่อาหาร) นกทะเลเพนกวินนากทะเลแมวน้ำสิงโต ทะเลแต่ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดและมีอัตราการตายสูงมักเป็นพวกนก น้ำเช่น ปลา หอย กุ้ง แมงกระพรุ่น หรือแม้แต่สาหราย ประการัง ในทะเล.....
1.ทางกายภาพ (Physical impact)
เมื่อขนสัตว์ซึ่งปกติจะกันน้ำ (ทำให้ สัตว์ลอยน้ำได้และรักษาอุณหภูมิของร่างกาย) ถูกน้ำมัน เปื้อนจะจับกันเป็นก้อนทำให้น้ำซึมเข้าถึงผิวหนังมีผลให้ สัตว์ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายได้จึงหนาวตาย (เนื่องจากอุบัติเหตุเหล่านี้มักเกิดในต่างประเทศเขตหนาวเช่นแคนาดาอเมริกา เหนือหรืออาจเกิดoverheatถ้าเกิดในเขตร้อน) และอาจทำ ให้สัตว์จมน้ำตายได้นอกจากนั้นคราบน้ำมันยังอาจอุดตันจมูกปากหรือ ระคายเคืองตาได้และในภาวะดังกล่าวสัตว์ผู้ ล่าก็จะล่าสัตว์เหล่านี้ได้โดยง่าย (แต่หมายถึงได้กินอาหารที่ปน เปื้อนสารพิษ) นอกจากนี้คราบน้ำมันที่เคลือบผิวหนังจะถูกดูด ซึมเข้าสู่ร่างกายไปยับยั้งการสืบพันธ์และการเจริญเติบโตโดยเฉพาะ ไข่นกจะไม่สามารถฟักออกเป็นตัวได้
(Toxiccontamination)
น้ำมันมีความเป็นพิษต่อทางเดินอาหาร (ทำให้ เกิดแผลหลุมและมีเลือดออกในทางเดินอาหาร),ตับ,ตับอ่อน,ไต (ทำลาย เนื้อเยื่อเหล่านี้อย่างรุนแรง),ปอด (ปอดบวมจากการสำลักพบได้เป็นปกติในกรณีเช่นนี้),ระบบ ประสาทส่วนกลางและมีผลระยะยาวต่อระบบสืบพันธุ์โดยน้ำมัน สามารถเข้าสู่ตัวสัตว์ได้ทั้งทางการหายใจ (ไอระเหย) ซึมผ่าน ทางผิวหนังและทางปาก (จากการปนเปื้อนในอาหารและจาก พฤติกรรมการไซร้ขนเมื่อขนเปื้อนน้ำมันจะทำให้สารที่เป็นพิษจาก น้ำมันจะเข้าสู่ตัวสัตว์ได้)
3.ผลต่อแหล่งอาหาร (Food resource contamination)
สัตว์น้ำที่ปนเปื้อนน้ำมันจะมีสารพิษในตัวเมื่อ สัตว์ผู้ล่ากินเข้าไปก็จะได้รับสารพิษและสัตว์ที่ปนเปื้อนมักมีกลิ่น น้ำมันทำให้ผู้ล่าไม่กินเกิดภาวะขาดอาหาร
เรียบเรียงข้อมูลเพิ่มเติมโดย manman